วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2551
บทที่ 8 การสร้างสื่อสามมิติ
...สื่อสามมิติ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่
........1. ลักษณะที่เป็นข้อความและตัวอักษร เป็นสื่อที่ให้ข้อมูลของบทเรียนจำนวนมากได้ ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนความรู้ได้ง่าย พกพาสะดวก เหมาะกับกลุ่มผู้เรียนที่มีมโนทัศน์หรือประสบการณ์การเรียนรู้ต่อสิ่งต่าง ๆ มาก เช่น ผู้เรียนในระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา
........2. ลักษณะที่เป็นกราฟิค การใช้ภาพประกอบข้อความ จะกระตุ้นความสนใจให้กับผู้เรียน ภาพที่ตรงประเด็น ภาพที่สื่อความหมายที่ชัดเจน ทำให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ง่ายขึ้น
........3. ลักษณะที่เป็นของจริง ของตัวอย่าง หุ่นจำลอง ชุดประลองเป็นสื่อฯที่ผู้เรียนสามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียดได้ การเรียนรู้จะเกิดกับผู้เรียนค่อนข้างสูงเหมาะกับผู้เรียนในทุกระดับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บทเรียน การสร้างสื่อการเรียนการสอน
- sหน้าหลัก
- บทที่ 1 ความหมาย ประเภทและประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน
- บทที่ 2 จิตวิทยาการรับรู้ การเรียนรู้และจิตวิทยาพัฒนาการ
- บทที่ 3 การสื่อความหมาย
- บทที่ 4 การออกแบบสื่อ องค์ประกอบทีสำคัญในการเรียนการสอน คือสิ่งที่นำไปประกอบการเรียนการสอน
- บทที่ 5 การสร้างสื่อด้วยคอมพิวเตอร์
- บทที่ 6 การสร้างสื่อ 2 มิติ
- บทที่ 7 การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
- บทที่ 9 การสร้างสื่อภาพเคลื่อนไหว